Recent
Posts
Science
Experiences Management For Early Childhood
21
November 2014
Time
13.00 pm. to 16.00 pm.
#knowledge.
สื่อต่าง
ๆ ที่นักศึกษาได้ทำ และแยกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
ลม
เสียง
แรงโน้มถ่วง
แรงน้ำ
****เพื่อนนำเสนองานวิจัย และโทรทัศน์ครู
งานงิจัย
เรื่องที่ 1 ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์
ชั้นอนุลาปีที่2
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณเน้นวิทยาศาสตร์สำหรับเด้กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ก่อนและหลังการทำกิจกรรม
3.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ฏปฐมวัย
เรื่องที่ 2 การพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสร์ ชั้นอนุบาล2
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อน
และหลังเรียน
2.เพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้ชั้นอนุบาล
2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
เรื่องที่3 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อน
และหลังในการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.เพื่อสังเกตความสามรถของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 4 การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานการทำงานก่อนและหลังการเรียนทดลองวิทยาศาสตร์
3.เพื่อสังเกตการทำกิจกรรมของเด็กปฐมวัยที่จัดให้
เรื่องที่ 5
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลัง
การฟังนิทานก่อนและหลังการทดลอง
2.เพื่อเปรีบยเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมก่อนการฟังนิทานและหลังการฟังนิทาน
เรื่องที่1 สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
การสอนโดยเน้นให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองจาการ สังแนก การเปรียบเทียบ
โดยกระบวนการเรียนรู้นั้นเด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง
ซึ่งจะทำให้เด็กสามารถจำได้ในระยะยาว และทำให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น
เรื่องที่ 2 จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
เป็นการเรียนวิทยาศาสตร์
สมัยใหม่ ที่ทันต่อโลก และเทคโนโลยียุคใหม่ เพราะทำให้การเรียน ไม่น่าเบื่อ
สนุกสนาและมีความสนุก พร้อมทั้งได้เรียนรู้และสร้างผลงานใหม่ได้ด้วยตนเอง
กิจกรรม COOKING ทำ "WAFFLES"
อาจารย์แนะนำอุปกรณ์และวิธืการทำ
อาจารย์ให้นักศึกษาผสมแป้งด้วยตนเอง
หน้าตาแป้งที่ผสมเครื่องปรุงเสร็จแล้ว
หน้าตา Waffles
น่าทานมาก
Evaluation
Self : ในการเรียนครั้งนี้รู้สึกตื่นเต้นมากเพราะมีการทำ
Cooking อีกแล้ว นั้นก็คือ การทำ Waffles
ซึ้งเป็นการทำครั้งแรกของดิฉัน
รู้จักวิ๊การทำจากอาจารย์เป็นครั้งแรกด้วย และจะนำเอาวิธีการทำ
Waffles ครั้งนี้ไปประยุกต์ในการสอนเด็กและทำทานเองในอนาคตได้
Friends : เพื่อนๆ มีความหร้อมในการเรียนครั้งนี้มาก
เพราะส่วนมากเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ก็จะมีแต่นำเสนอวิจัย กับ โทรทัศน์ครู
และเพื่อนร่วมมือกันทำ waffles เป็นอย่างดี
แต่อาจจะมีเพื่อนบางกลุ่มที่ไม่มีความพร้อมในการนำเสนอจึงต้องเอาไปนำเสนอต่อในการเรียนครั้งต่อไป
Teachers : อาจารย์มีความพร้อมในการสอนครั้งนี้ อาจารย์ได้นำอุปกรณ์ในการทำ waffles มาให้นักศึกษาและอาจารย์มีเทคนิคในการสอนทำ waffle เทคนิคในการผสมแป้ง
โดยไม่ควรเหลวเกินไป เพราะเวลาใส่เครื่องปิ้งอาจจะทำให้เเป้งนั้นไหลเลอะเทอะได้
หลังจากเสร็จกรรมอาจารย์ก็ให้นักศึกษารับผิดชอบอุปกรณ์ของตัวเอง
โดยการเก็บให้เรียบร้อย และทำความสะอาด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น