วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกครั้งที่ 5






Recent Posts

Science Experiences Management For Early Childhood

19   September 2014

Time 13.00 pm. to 16.00  pm.





     #knowledge.

ทักษะต่างๆที่ใช้ในวิทยาศาสตร์
  1. ทักษะการสังเกตทักษะการสังเกต(Observation)
การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า
สังเกตและสัมผัสลักษณะโดยตรงกับวัตถุ
สังเกตเหตการต่างๆ
สังเกตเพื่อเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงต่างๆ
การสังเกตควบคู่ไปกับการคำนวณ
            2.ใช้ทักษะการจำแนกประเภท(Classifying)
ความสามารถแบ่งประเภทสิ่งของโดยใช้เกณฑ์
ความเหมือน
ความแตกต่าง
ความสัมพันธ์ร่วม
            3. ทักษะการวัด (Measurement)
การใช้เครื่องมือต่างๆวัดปริมารของสิ่งที่เราต้องการทราบ  ได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยการวัดกำกับ
รู้จักกับสิ่งของที่เราจะวัด
การเลือกเครื่องมือที่เหมาะสม
วิธีการวัดแบบไม่เป็นทางการ  กึ่งทางการและทางการตามลำดับ
            4. ทักษะการสื่อความหมาย (Communication)
การพูดการเขียนรูปภาพทางภาษาและท่าทาง
บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุได้
บันทึกความเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
บอกความสมัพนธ์ของวัตถุได้
จัดทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
            5. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring)
การเพิ่มเติ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์
ลงข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ
ลงข้อสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ
การสังเกตเพื่อการเปลี่ยนแปลง
            6. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปทกับเวลา  (Space)
การรู้จักมิติ การบอกทิศทาง รู้จักเงา
ภาพ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ
บอกตำแหน่งและทิศทางของวัตถุ
บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางกับวัตถุ
            7. ทักษะการคำนวน  (Caculation)
การนับจำนวนของวัตถุ
การบวก ลบ คูณ หาร
การหาค่าต่างๆ
การคำนวน
หลังจากนั้นอาจารย์ให้ประดิษฐ์สื่อที่ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งอาจารย์เตรียมอุปกรณ์มาให้

อุปกรณ์                      
1.กระดาษA4                                         
2.ไม้เสียบลูกชิ้น                                      
3.สี                                  
 4.กรรไกร                                         
5.กาว

ขั้นตอนการทำ                                                                
1.แบ่งกระดาษ 1 แผ่นให้เป็น 4 ส่วน                                        
2.แบ่งกระดาษจากที่แบ่งเป็นส่วนๆให้เพื่อน                                         
3.วาดรูปที่สัมพันธ์กันในแต่ละด้าน                                        
4.นำไม้เสียบลูกชิ้นทากาวแล้วติดลงบนกระดาษให้แน่นจนหมุนไม้แล้วกระดาษไม่หลุดออก


Evaluation

Self : ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายรายวิชาพร้อมจดบันทึกเนื้อหา/สาระ  ตอบคำถามและ แสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่อาจารย์อธิบาย

Friends : วันนี้เพื่อนมีดูมีความสนุกสนานและกระตือรือร้นในการทำผลงานของตนเองอย่าง ตั้งใจ และให้ความช่วยซึ่งกันและกันในการใช้อุปกรณ์ในการทำการประดิษฐ์ และร่วมกันทำกิจกรรมอย่างตั้งใจ

Teachers : อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่แปลกใหม่ไม่เหมือนกับอาจารย์คนอื่น อาจารย์ยกตัวอย่างเนื้อหาที่มีอยู่เพื่อให้นักศึกษาได้เกิดภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น สามารถทำให้เราจำจดได้ง่ายเป็นวิธี
การสอนที่หน้าสนใจ










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น